PREMIUM
PREMIUM
ช่วยคุณทำวิทยานิพนธ์ได้ด้วยตัวเอง..คุณค่าของความรู้วิจัยที่ลึกซึ้ง 9 ห้องเรียนใหญ่……..แห่งแรกของโลก..ที่นี่ที่เดียว..www.ThesisSkill.com..สอนโดย ครูอ้อ ยุภารักษ์ จันทร์มณี [ ผู้เชี่ยวชาญการสอนวิทยานิพนธ์ออนไลน์ระดับโลก ]
.
ห้องเรียนใหญ่ 1
ห้องเรียนใหญ่ 1
รหัส 0002 :: โครงร่างการวิจัย
รวมจำนวน 22 VDO
ในห้องเรียนใหญ่ที่ 1 นี้จะทำให้คุณมีความรู้อย่างลึกซึ้งในหัวข้อเรื่อง 🙂 โครงร่างการวิจัย ซึ่งจำแนกออกได้เป็น 3 STEP ดังต่อไปนี้
(1) STEP 1 ความรู้ขั้นต้น :: มีจำนวน 8 VDO ได้แก่ 1. แนวคิดทั่วไปและวิธีเขียนโครงการวิจัย 2. หลักการเขียนโครงการวิทยานิพนธ์ 3. ความหมายและความสำคัญของโครงการวิจัย 4. จุดมุ่งหมายของการเขียนโครงการวิจัย 5. แหล่งที่มาของหัวเรื่องการวิจัย 6. หัวเรื่องการวิจัยที่ถูกกำหนดขึ้นมาให้ 7.ข้อพิจารณาในการกำหนดหัวเรื่องการวิจัย 8. แนวคิดวิธีเขียนโครงการวิจัย (0011)
(2) STEP 2 ความรู้ขั้นกลาง :: มีจำนวน 7 VDO ได้แก่ 1. องค์ประกอบของโครงการวิจัย 2. องค์ประกอบของการเขียนวิทยานิพนธ์ 3. หลักการกำหนดชื่อเรื่องของโครงการวิจัย 4. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 5. หลักการสำคัญในการเขียนความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา 6. หลักการสำคัญในการเขียนประเด็นปัญหาการวิจัย 7. หลักการสำคัญในการเขียนกรอบแนวคิดการวิจัย (0012)
(3) STEP 3 ความรู้ขั้นสูง :: มีจำนวน 7 VDO ได้แก่ 1. หลักการสำคัญในการเขียนสมมติฐานการวิจัย 2. หลักการสำคัญในการเขียนขอบเขตการวิจัย 3. หลักการสำคัญในการเขียนนิยามศัพท์การวิจัย 4. หลักการสำคัญในการเขียนประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการวิจัย 5. หลักการสำคัญในการเขียนระเบียบวิธีวิจัย 6. หลักการสำคัญในการเขียนกำหนดการดำเนินการวิจัย 7. หลักการสำคัญในการเขียนทรัพยากรที่ใช้ในการวิจัย (0013)
ห้องเรียนใหญ่ 2
รหัส 0003 :: บทที่ 1 บทนำ
รวมจำนวน 78 VDO
ในห้องเรียนใหญ่ที่ 2 นี้จะทำให้คุณมีความรู้อย่างลึกซึ้งในหัวข้อเรื่อง 🙂 บทที่ 1 บทนำ ซึ่งจำแนกได้เป็น 3 STEP ประกอบด้วย
(1) STEP 1 ความรู้ขั้นต้น มีจำนวน 29 VDO :: ได้แก่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย 2. ความหมายของการวิจัย 3. ความสำคัญของการวิจัย 4. แนวคิดปฏิฐานนิยม 5. แนวคิดของกลุ่มคัดค้านปฏิฐานนิยม 6. แนวคิดชาติพันธ์วิทยาและสัญลักษณ์ปฏิสัมพันธ์นิยม 7. การสรุปเปรียบเทียบลักษณะของการวิจัยเชิงปริมาณกับการวิจัยเชิงคุณภาพ 8. ขั้นตอนของการวิจัยเชิงปริมาณ 9. การรวบรวมข้อมูลเชิงคุณภาพ 10. การวิจัยแบ่งตามแนวคิดพื้นฐานการวิจัย 11. การวิจัยบริสุทธิ์ การวิจัยประยุกต์ และการวิจัยปฏิบัติ 12. การวิจัยแบบตัดขวางและการวิจัยระยะยาว 13. การวิจัยเชิงสำรวจ, การวิจัยเชิงสหสัมพันธ์, การวิจัยเปรียบเทียบสาเหตุ, การวิจัยรายกรณีและการวิจัยพัฒนาการ 14. การวิจัยแนวโน้ม, การวิจัยเชิงทดลอง และการวิจัยกึ่งทดลอง 15. ความแตกต่างระหว่างการวิจัยกับการประเมิน 16. ความแตกต่างระหว่างการวิจัย, การวิจัยและการวิจัยและพัฒนา 17. ความหมายของวิทยานิพนธ์ 18. ความสำคัญของวิทยานิพนธ์ 19. การกำหนดหัวข้อหรือปัญหาในการวิจัย 20. การเขียนแบบสมมติฐานที่เป็นกลาง 21. การสนับสนุนความเป็นมาและความสำคัญของปัญหาการวิจัย 22. วิธีสังเคราะห์และนำเสนอวรรณกรรมเพื่อสนับสนุนความเป็นมาและความสำคัญของปัญหาการวิจัย 23. หลักการนำเสนอวรรณกรรมเพื่อสนับสนุนความเป็นมาและความสำคัญของการวิจัย 24. ตัวอย่างวิธีเขียนวรรณกรรมที่ผ่านการสังเคราะห์เชิงบูรณาการ 25. วัตถุประสงค์ของวิทยานิพนธ์หรือการวิจัย 26. แนวคิดเกี่ยวกับการทดสอบสมมติฐานเชิงสถิติ 27. การสังเคราะห์และนำเสนอเพื่อสนับสนุนสมมติฐานของการวิจัย 28. ตัวแปรที่มุ่งศึกษา, ตัวแปรที่ไม่ได้มุ่งศึกษาและตัวแปรเชื่อม 29. ปัจจัยแวดล้อมภายนอกที่มีผลกระทบต่อตัวแปรตาม (0014)
(2) STEP 2 ความรู้ขั้นกลาง มีจำนวน 34 VDO :: ได้แก่ 31. Testing Effect 32. Instrumental Variation 33. แนวคิดเกี่ยวกับตัวแปรและการวัด 34. ความหมายของตัวแปร 35. ความสำคัญของตัวแปร 36. แนวคิดเกี่ยวกับประเภทของตัวแปร 37. ตัวแปรเชิงปริมาณ 38. ตัวแปรเชิงคุณภาพ 39. ตัวแปรอิสระ 40. ตัวแปรตาม 41. แผนภาพแนวคิด 42.ตัวแปรแทรก 43. ตัวแปรนำ 44.ตัวแปรภายนอก 45. ตัวแปรองค์ประกอบ 46. ตัวแปรกด 47. ตัวแปรบิดเบือน 48. ตัวแปรควบคุมหรือตัวแปรทดสอบ 49. การนิยามตัวแปร 50. แนวคิดเกี่ยวกับการวัด 51. ระดับการวัด 52. แนวคิดการเขียนวิจัย 53. องค์ประกอบของการเขียนวิจัย 54. หัวเรื่องการวิจัยที่ถูกกำหนดขึ้นมาให้ 55. ข้อพิจารณาในการกำหนดหัวข้อเรื่องการวิจัย 56. แหล่งที่มาของหัวเรื่องการวิจัย 57. จุดมุ่งหมายของการวิจัย 58. แหล่งของการวิจัย+ลักษณะของปัญหาวิจัยที่ดี 59. ลักษณะของปัญหาการวิจัยที่ดี 60. แบบกำหนดตัวแปรตัวเดียวแทนตัวเลือกแต่ละตัวเลือก 61. การศึกษาความสัมพันธ์ของตัวแปร 62. ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุและผล 63. ความสัมพันธ์เชิงสหสัมพันธ์ 64.ความสัมพันธ์เชิงเงื่อนไข (0015)
(3) STEP 3 ความรู้ขั้นสูง มีจำนวน 14 VDO :: ได้แก่ 65. หลักการเขียนโครงการวิจัย 66. ชื่อเรื่อง 67. ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา 68. ประเด็นปัญหาการวิจัย 69. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 70. สมมติฐานการวิจัย 71. กรอบแนวคิดการวิจัย 72. ขอบเขตการวิจัย 73. ขอบเขตการวิจัย 74. กำหนดการดำเนินการวิจัย 75. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 76. คำนิยามศัพท์ 77. ตัวอย่างที่ 1 ตัวอย่างการเขียนโครงการวิจัย 78. ตัวอย่างที่ 2 ตัวอย่างการวิจัยและพัฒนา (0016)
ห้องเรียนใหญ่ 3
รหัส 0004 :: บทที่ 2 การทบทวนวรรณกรรม
รวมจำนวน 28 VDO
ในห้องเรียนใหญ่ที่ 3 นี้จะทำให้คุณมีความรู้อย่างลึกซึ้งในหัวข้อเรื่อง 🙂 บทที่ 2 การทบทวนวรรณกรรม ซึ่งจำแนกได้เป็น 3 STEP ประกอบด้วย
(1) STEP 1 ความรู้ขั้นต้น มีจำนวน 8 VDO :: ได้แก่ 1. แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับการทบทวนวรรณกรรม 2. ความหมายและความสำคัญของวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง 3. วรรณกรรมประเภทปฐมภูมิ 4. วรรณกรรมประเภททุติยภูมิ 5. แหล่งที่มาของวรรณกรรม 6. หลักเกณฑ์ในการทบทวนวรรณกรรม 7. ความสำคัญของการทบทวนวรรณกรรม 8. หลักวิจัยสากลระดับความน่าเชื่อถือของวรรณกรรมที่ใช้ทบทวน (0017)
(2) STEP 2 ความรู้ขั้นกลาง มีจำนวน 9 VDO :: ได้แก่ 9. แนวคิดเกี่ยวกับการสังเคราะห์และการนำเสนอวรรณกรรม 10. แนวคิดเกี่ยวกับการเก็บรวบรวมข้อมูล 11. ความหมายและลักษณะของข้อมูล 12. ประเภทของข้อมูลการวิจัย 13. แหล่งของข้อมูลการวิจัย 14. แนวคิดเกี่ยวกับการเลือกปัญหาการวิจัย 15. แหล่งที่มาของปัญหาการวิจัย 16. วิธีการกำหนดปัญหาการวิจัยที่ชัดเจน 17. จุดประสงค์ของการศึกษาวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง (0018)
(3) STEP 3 ความรู้ขั้นสูง มีจำนวน 11 VDO :: ได้แก่ 18. หลักการเขียนแนวคิด 19. หลักการเขียนทฤษฎี 20. แนวการเขียนผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 21. ประเภทของวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง 22. กระบวนการของการศึกษาวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง 23. ขั้นตอนที่ 1 ของการศึกษาวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง 24. ขั้นตอนที่ 2 ของการศึกษาวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง 25. ขั้นตอนที่ 3 ของการศึกษาวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง 26. ขั้นตอนที่ 4-6 ของการศึกษาวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง 27. ตัวอย่าง 1 การเขียนและการนำเสนอวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง 28. ตัวอย่างที่ 2 การเขียนและนำเสนอวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง (0019)
ห้องเรียนใหญ่ 4
รหัส 0005 :: บทที่ 3 ระเบียบวิธีดำเนินการวิจัย
รวมจำนวน 91 VDO
ในห้องเรียนใหญ่ที่ 4 นี้จะทำให้คุณมีความรู้อย่างลึกซึ้งในหัวข้อเรื่อง 🙂 ระเบียบวิธีดำเนินการวิจัย ซึ่งจำแนกได้เป็น 3 STEP ประกอบด้วย
(1) STEP 1 ความรู้ขั้นต้น มีจำนวน 48 VDO จำแนกออกตามบทได้ดังต่อไปนี้ บทที่ 3.1 ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐาน มีจำนวน 5 VDO :: ได้แก่ 1. การออกแบบการเลือกตัวอย่าง 2. ความหมายของการออกแบบงานวิจัย 3. Max Min Con หลักการในการออกแบบงานวิจัย 4. รูปแบบการวิจัยแบ่งตามลักษณะงาน 5. รูปแบบการวิจัยแบ่งตามประเภทการวิจัยทางธุรกิจ บทที่ 3.2 การวิจัยเชิงสำรวจ มีจำนวน 8 VDO :: ได้แก่ 6. แนวคิดเกี่ยวกับการวิจัยเชิงสำรวจ 7. ลักษณะเด่นของการวิจัยเชิงสำรวจ 8. ประเภทของการวิจัยเชิงสำรวจ 9. จุดมุ่งหมายและประโยชน์ของการวิจัยเชิงสำรวจ 10. ขั้นตอนที่ 1-3 ของการวิจัยเชิงสำรวจ 11.ขั้นตอนที่ 1-3 ของการวิจัยเชิงสำรวจ 12. ความตรงของการวิจัยเชิงสำรวจ 13. ความคลาดเคลื่อนของการวิจัยเชิงสำรวจ บทที่ 3.3 การวิจัยเชิงความสัมพันธ์ มีจำนวน 8 VDO :: ได้แก่ 14. แนวคิดเกี่ยวกับการวิจัยเชิงความสัมพันธ์ 15. ความหมาย ลักษณะ ข้อดี ข้อจำกัด ของการวิจัยเชิงความสัมพันธ์ 16. รูปแบบของการวิจัยเชิงความสัมพันธ์ 17. การแปลความหมายของการวิจัยเชิงความสัมพันธ์ 18. ข้อควรระวังในการแปลความหมายของการวิจัยเชิงความสัมพันธ์ บทที่ 3.4 การวิจัยเชิงทดลองและกึ่งทดลอง มีจำนวน 8 VDO :: ได้แก่ 19. แนวคิดเกี่ยวกับการวิจัยเชิงทดลองและกึ่งทดลอง 20. ความหมายและลักษณะของการวิจัยเชิงทดลองและกึ่งทดลอง 21. ความตรงของการวิจัยเชิงทดลองและกึ่งทดลอง 22. ความตรงภายใน ความตรงภายนอก ของการวิจัยเชิงทดลองและกึ่งทดลอง 23. ความตรงที่ได้รับจากการสรุปด้วยสถิติของการวิจัยเชิงทดลองและกึ่งทดลอง 24. Max Min Con Principle ของการวิจัยเชิงทดลองและกึ่งทดลอง 25. รูปแบบที่ 1 ของการวิจัยเชิงทดลอง 26. รูปแบบที่ 2-4 ของการวิจัยเชิงทดลอง 27. รูปแบบการวิจัยกึ่งทดลอง รูปแบบที่ 1-4 28. รูปแบบการวิจัยกึ่งทดลอง รูปแบบที่ 5-7, 29. ขั้นตอนการวิจัยเชิงทดลอง บทที่ 3.5 การวิจัยเชิงความสัมพันธ์ มีจำนวน 8 VDO ได้แก่ 30. แนวคิดและวิธีการวัดความสัมพันธ์ 31. การวัดความสัมพันธ์อย่างง่าย 32. วิธีกำลังสองน้อยที่สุด 33. ตัวอย่างที่ 11.8, 34. ตัวอย่างที่ 11.9, 35. ตัวอย่างที่ 11.10, บทที่ 3.6 ประชากรและสิ่งตัวอย่าง มีจำนวน 3 VDO ได้แก่ 36. แนวคิดเกี่ยวกับประชากร 37. แนวคิดเกี่ยวกับสิ่งตัวอย่าง 38. ขั้นตอนระเบียบวิธีในการเลือกตัวอย่าง บทที่ 3.7 การเลือกใช้สิ่งตัวอย่างแบบมาใช้ความน่าจะเป็น มีจำนวน 4 VDO ได้แก่ 39. แนวคิดการเลือกตัวอย่างแบบไม่ใช้ความน่าจะเป็น 40. การเลือกตัวอย่างแบบบังเอิญ 41. การเลือกตัวอย่างแบบโควต้า 42. การเลือกตัวอย่างแบบเจาะจง บทที่ 3.8 การเลือกใช้สิ่งตัวอย่างแบบใช้ความน่าจะเป็น มีจำนวน 6 VDO ได้แก่ 43. แนวคิดการเลือกตัวอย่างแบบใช้ความน่าจะเป็น 44. การเลือกตัวอย่างแบบง่าย 45. การเลือกตัวอย่างแบบระบบ 46. การเลือกตัวอย่างแบบแบ่งกลุ่ม 47. การเลือกตัวอย่างแบบชั้นภูมิ 48. การเลือกตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน บทที่ 3.9 การออกแบบการวิจัย มีจำนวน 9 VDO ได้แก่ 49. แนวคิดการออกแบบเกี่ยวกับข้อมูล 50. ความหมาย ความสำคัญ ลักษณะ การออกแบบการวิจัย 51. การออกแบบแหล่งข้อมูล 52. การออกแบบวิธีการวิจัย 53. การตัดสินใจเลือกประเภทของรูปแบบการวิจัย 54. การออกแบบการวิจัยเชิงสำรวจ 55. การออกแบบการวิจัยเชิงสรุป 56. การออกแบบการวิจัยเชิงวัดผล 57. การออกแบบวิธีการเก็บข้อมูล (0020)
(2) STEP 2 ความรู้ขั้นกลาง มีจำนวน 20 VDO จำแนกออกตามบทได้ดังต่อไปนี้ บทที่ 3.9 การออกแบบการวิจัย มีจำนวน 9 VDO ได้แก่ 49. แนวคิดการออกแบบเกี่ยวกับข้อมูล 50. ความหมาย ความสำคัญ ลักษณะ การออกแบบการวิจัย 51. การออกแบบแหล่งข้อมูล 52. การออกแบบวิธีการวิจัย 53. การตัดสินใจเลือกประเภทของรูปแบบการวิจัย 54. การออกแบบการวิจัยเชิงสำรวจ 55. การออกแบบการวิจัยเชิงสรุป 56. การออกแบบการวิจัยเชิงวัดผล 57. การออกแบบวิธีการเก็บข้อมูล บทที่ 3.10 การออกแบบการวิจัย มีจำนวน 11 VDO :: ได้แก่ 58. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 59. การออกแบบเครื่องมือการวิจัย 60. แบบสอบถาม 61. ประเภทของแบบสอบถามการวิจัย 62. มาตรประมาณค่าแบบลิเคิร์ท 63. หลักในการสร้างแบบสอบถาม 64. การสัมภาษณ์แบบเจาะลึก 65. การสัมภาษณ์ด้วยวิธีการสะท้อนภาพจากคำตอบ 66. หลักเกณฑ์สำหรับการเขียนแบบสัมภาษณ์ 67. วิธีการเก็บข้อมูลโดยการสังเกต 68. แบบบันทึกการสังเกต (0021)
(3) STEP 3 ความรู้ขั้นสูง มีจำนวน 23 VDO จำแนกออกตามบทได้ดังต่อไปนี้ บทที่ 3.11 การสร้างและการตรวจสอบความเที่ยงตรงเครื่องมือการวิจัย มีจำนวน 15 VDO :: ได้แก่ 69. แนวคิดเกี่ยวกับการสร้างและการตรวจสอบเครื่องมือการวิจัย 70. แนวคิดเครื่องมือการวิจัยและการตรวจสอบคุณภาพ 71. ความเชื่อถือได้ 72. ความเที่ยงตรง 73. วิธีการสอบซ้ำ 74. วิธีการใช้ฟอร์มเทียบเท่า 75. วิธีหาความสอดคล้องภายใน 76. วิธีสัมประสิทธิ์แอลฟา 77. วิธีของคูเดอร์–ริชาร์ดสัน 78. วิธีการวิเคราะห์ความแปรปรวน 79. วิธีสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ 80. วิธีหาความสอดคล้อง 81. ความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา 82. ความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้าง 83. ความเที่ยงตรงเชิงเกณฑ์สัมพันธ์ บทที่ 3.12 การเก็บรวบรวมข้อมูล มีจำนวน 8 VDO :: ได้แก่ 84. แนวคิดการเก็บข้อมูลโดยการสำรวจ 85. การสัมภาษณ์ตัวต่อตัว 86. การสัมภาษณ์ทางโทรศัพท์ 87. การสำรวจทางออนไลน์และทางไปรษณีย์ 88. การสำรวจโดยการทอดแบบ 89. แหล่งที่มาของความคลาดเคลื่อนและจรรยาบรรณในการเก็บข้อมูล 90. แนวคิดการเก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ การสังเกต และการทดลอง 91. รูปแบบการเก็บข้อมูลโดยการทดลอง (0022)
ห้องเรียนใหญ่ 5
รหัส 0006 :: บทที่ 4 ผลการวิจัย
รวมจำนวน 79 VDO
ในห้องเรียนใหญ่ที่ 5 นี้จะทำให้คุณมีความรู้อย่างลึกซึ้งในหัวข้อเรื่อง 🙂 บทที่ 4 ผลการวิจัย ซึ่งจำแนกได้เป็น 3 STEP ประกอบด้วย
(1) STEP 1 ความรู้ขั้นต้น จำนวน 17 VDO :: จำแนกออกตามบทได้ดังต่อไปนี้ บทที่ 4.1 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัย มีจำนวน 10 VDO :: ได้แก่ 1. แนวคิดสถิติพรรณนา 2. ความหมายและประเภทสถิตินอนพาราเมทริก 3. หลักสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูล 4. ตารางแจกแจงความถี่ของข้อมูลเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ 5. ตารางแจกแจงความถี่ที่จัดข้อมูลเป็นหมู่ 6. การคำนวณค่าความถี่สะสมแบบน้อยกว่า 7. แนวคิดค่าสัดส่วนและร้อยละ 8. การคำนวณค่าสัดส่วน 9. การคำนวณค่าร้อยละ 10. การคำนวณค่าความถี่สัมพัทธ์ 11. บทที่ 4.2 การแปลความหมายของข้อมูลการวิจัย มีจำนวน 7 VDO :: ได้แก่ 11. การแปลความหมายข้อมูล 12. การแปลผลค่าความถี่สะสม 13. การแปลผลค่าสัดส่วน 14. การแปลผลค่าร้อยละ 15. การแปลผล ค่าเฉลี่ย ค่ามัธยฐาน และค่าฐานนิยม 16. การแปลผล ค่าเฉลี่ย ค่ามัธยฐาน และค่าฐานนิยม 17. การแปลผลค่าการกระจายสัมพัทธ์ (0023)
(2) STEP 2 ความรู้ขั้นกลาง จำนวน 2 VDO :: จำแนกออกตามบทได้ดังต่อไปนี้ บทที่ 4.3 การทดสอบสมมติฐาน มีจำนวน 7 VDO :: ได้แก่ 18. การตั้งสมมติฐานเชิงสถิติเพื่อการทดสอบ 19. การกำหนดระดับนัยสำคัญของการทดสอบ 20. การกำหนดตัวสถิติที่ใช้ในการทดสอบ 21. แนวคิดการทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับค่าเฉลี่ย 22. การทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับค่าเฉลี่ยของประชากรกลุ่มเดียว 23. การทดสอบสมมติฐานความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ยของประชากรสองกลุ่ม 24. การทดสอบสมมติฐานโดยใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวน 25. การทดสอบสมมติฐานเชิงสถิติโดยใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวน 26. แนวคิดการทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับค่าสัดส่วน 27. การทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับค่าสัดส่วนของประชากรกลุ่มเดียว 28. การทดสอบสมมติฐานความแตกต่างระหว่างค่าสัดส่วนของประชากรสองกลุ่ม บทที่ 4.4 การทดสอบสถิติพาราเมทริกและสถิตินอนพาราเมทริก มีจำนวน 19 VDO :: ได้แก่ 29. แนวคิดสถิติพาราเมทริก 30. แนวคิดสถิตินอนพาราเมทริก 31. ความหมายและประเภทสถิตินอนพาราเมทริก 32. ความแตกต่างของสถิติพาราเมทริกกับสถิตินอนพาราเมทริก 33. ระดับการวัดข้อมูลของความแตกต่างระหว่างสถิติพาราเมทริกกับสถิตินอนพาราเมทริก 34. มาตราการวัดและความมุ่งหมายของการใช้สถิตินอนพาราเมทริก 35. การทดสอบแบบทวินาม 36. การทดสอบของโคลโมโกรอฟ–สมิร์นอฟ 37. ตัวอย่างที่ 12.2 38. การทดสอบของ แมคนีมาร์ 39. การทดสอบของ แมคนีมาร์ 40. การทดสอบโดยใช้เครื่องหมาย 41. ตัวอย่างที่ 12.4 บริษัทรถยนต์ 42. การทดสอบแบบ แมนน์–วิทนีย์ 43. ตัวอย่างที่ 12.5 44. Friedman Two-way Analysis 45. ตัวอย่างที่ 12.6 การทดสอบแบบฟิสแมน 46. ตัวอย่างที่ 12.7 การทดสอบ ANOVA 47. ตัวอย่างที่ 12.7 การทดสอบ ANOVA (0025)
(3) STEP 3 ความรู้ขั้นสูง มีจำนวน 32 VDO :: จำแนกออกตามบทได้ดังต่อไปนี้ บทที่ 4.5 การทดสอบไคสแควร์ มีจำนวน 8 VDO :: ได้แก่ 48. แนวคิดการทดสอบไคสแควร์ 49. แนวคิดการทดสอบไคสแควร์ในสถิตินอนพาราเมตริก 50. การทดสอบความเป็นอิสระ 51. ตัวอย่างที่ 14.7 การทดสอบความเป็นอิสระ 52. การทดสอบภาวะสารูปสนิทดี 53. ตัวอย่างที่ 14.8 54. การทดสอบความสอดคล้อง 55. ตัวอย่างที่ 14.9 บทที่ 4.6 ค่ากลางและค่าการกระจาย มีจำนวน 8 VDO :: ได้แก่ 56. แนวคิดค่ากลางและค่าการกระจาย 57. การคำนวณค่าเฉลี่ยของข้อมูลเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ 58. การคำนวณค่ามัธยฐานของข้อมูลเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ 59. การคำนวณค่าฐานนิยมของข้อมูลเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ 60. การคำนวณค่าการกระจายสัมบูรณ์ของข้อมูลเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ 61. การคำนวณค่าการกระจายสัมบูรณ์ของข้อมูลเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ บทที่ 4.7 การประมวณผลและการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ มีจำนวน 8 VDO :: ได้แก่ 62. แนวคิดการประมวลผลและการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ 63. ความหมายและความสำคัญของการประมวลผลข้อมูล 64. กระบวนการประมวลผลข้อมูล 65. วิธีการประมวลผลข้อมูลและแนวคิดการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ 66. การสร้างรหัสและกำหนดชื่อตัวแปร 67. คำถามที่ได้กำหนดและไม่ได้กำหนดตัวเลือกไว้ให้ 68. คำถามที่ได้กำหนดและไม่ได้กำหนดตัวเลือกไว้ให้ 69. แบบกำหนดตัวแปรตัวเดียวแทนตัวเลือกแต่ละตัวเลือก 70. การจัดทำคู่มือลงรหัส 71. การจัดเตรียมซอฟแวร์หรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 72. การเลือกใช้โปรแกรมสร้างแฟ้มข้อมูล 73. การจัดเตรียมสื่อสำหรับบันทึกข้อมูล 74. การออกแบบตารางผลลัพธ์ 75. แนวคิดเกี่ยวกับโปรแกรมสำเร็จรูป 76. ประเภทของโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ 77. ความสามารถทางสถิติของโปรแกรม 78. แนวคิดโปรแกรมสำเร็จรูป โปรแกรม SPSS 79. ผลลัพธ์ที่ได้จากคอมและการแปลความหมาย (0025)
ห้องเรียนใหญ่ 6
รหัส 0007 :: บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
รวมจำนวน 7 VDO
ในห้องเรียนใหญ่ที่ 6 นี้จะทำให้คุณมีความรู้อย่างลึกซึ้งในหัวข้อเรื่อง 🙂 บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ ซึ่งจำแนกได้เป็น 3 STEP ประกอบด้วย
(1) STEP 1 ความรู้ขั้นต้น จำนวน 7 VDO :: จำแนกออกตามบทได้ดังต่อไปนี้ บทที่ 5.1 ความรู้ขั้นต้น มีจำนวน 2 VDO :: ได้แก่ 1. แนวคิดและความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการเขียนรายงานการวิจัย 2. ความนำการเขียนรายงานผลการวิจัย (0026)
(2) STEP 2 ความรู้ขั้นกลาง จำนวน 2 VDO :: จำแนกออกตามบทได้ดังต่อไปนี้ บทที่ 5.2 ความรู้ขั้นกลาง มีจำนวน 2 VDO :: ได้แก่ 3. การรายงานผลการวิจัยโดยทั่วไป 4. ข้อแนะนำในการเขียนรายงานการวิจัย (0027)
(3) STEP 3 ความรู้ขั้นสูง จำนวน 3 VDO :: จำแนกออกตามบทได้ดังต่อไปนี้ บทที่ 5.3 ความรู้ขั้นสูง มีจำนวน 2 VDO :: ได้แก่ 5. แนวทางทั่วไปในการนำเสนอด้วยกราฟฟิก 6. ความรู้ขั้นสูงในการเขียน 7. การสังเคราะห์และนำเสนอเพื่อสนับสนุนการอภิปรายผลการวิจัย (0028)
ในการนำเสนอด้วยกราฟฟิก 6. ความรู้ขั้นสูงในการเขียน 7. การสังเคราะห์และนำเสนอเพื่อสนับสนุนการอภิปรายผลการวิจัย (0028)
ห้องเรียนใหญ่ 7
รหัส 0008 :: ส่วนท้าย
รวมจำนวน 10 VDO
ในห้องเรียนใหญ่ที่ 7 นี้จะทำให้คุณมีความรู้อย่างลึกซึ้งในหัวข้อเรื่อง 🙂 บทที่ 7 ส่วนท้าย ซึ่งจำแนกได้เป็น 3 STEP ประกอบด้วย
(1) STEP 1 ความรู้ขั้นต้น จำนวน 3 VDO :: จำแนกออกได้ดังต่อไปนี้ 1. วิธีการอ้างอิง 2. วิธีการเขียนอ้างอิงผู้แต่งทั้งที่เป็นบุคคลและหน่วยงาน 3. ประเภทของเชิงอรรถและตำแหน่งการอ้างอิงเชิงอรรถ (0029)
(2) STEP 2 ความรู้ขั้นกลาง จำนวน 3 VDO :: จำแนกออกได้ดังต่อไปนี้ 4. รูปแบบและองค์ประกอบของเชิงอรรถ 5. หลักการสำคัญในการเขียนบรรณานุกรม 6. รูปแบบและองค์ประกอบบรรณานุกรม (0030)
(3) STEP 3 ความรู้ขั้นสูง จำนวน 4 VDO :: จำแนกออกได้ดังต่อไปนี้ 7. การเขียนบรรณานุกรม 8. การเขียนบรรณานุกรมของหนังสือแปล 9. การพิมพ์บรรณานุกรม 10. แนวทางองค์ประกอบการเขียนบทคัดย่อ (0031)
ห้องเรียนใหญ่ 8
รหัส 0009 :: หลักเกณฑ์การประเมินและการสอบปกป้องวิทยานิพนธ์
รวมจำนวน 17 VDO
ในห้องเรียนใหญ่ที่ 8 นี้จะทำให้คุณมีความรู้อย่างลึกซึ้งในหัวข้อเรื่อง 🙂 หลักเกณฑ์การประเมินและการสอบปกป้องวิทยานิพนธ์ ซึ่งจำแนกได้เป็น 3 STEP ประกอบด้วย
(1) STEP 1 ความรู้ขั้นต้น มีจำนวน 4 วีดีโอ จำแนกออกได้ดังต่อไปนี้ 1. การประเมินและการปกป้องวิทยานิพนธ์ 2. แนวคิดเกี่ยวกับการประเมินวิทยานิพนธ์ 3. จุดประสงค์ของการประเมินวิทยานิพนธ์ 4. เกณฑ์การประเมินวิทยานิพนธ์ (0032)
(2) STEP 2 ความรู้ขั้นกลาง มีจำนวน 7 วีดีโอ จำแนกออกได้ดังต่อไปนี้ 5. แนวทางการประเมินวิทยานิพนธ์ 6. แนวทางการประเมินเนื้อเรื่องวิทยานิพนธ์ 7. วิธีการประเมินวิทยานิพนธ์ 8. แนวคิดและการปกป้องวิทยานิพนธ์ 9. แนวคิดเกี่ยวกับการปกป้องวิทยานิพนธ์ 10. การเตรียมปกป้องวิทยานิพนธ์ 11. การเตรียมนำเสนอวิทยานิพนธ์ (0033)
(3) STEP 3 ความรู้ขั้นสูง มีจำนวน 6 วีดีโอ จำแนกออกได้ดังต่อไปนี้ 12. ตัวอย่างการเตรียมการนำเสนอ 13. ขั้นตอนการปกป้องวิทยานิพนธ์ 14. กระบวนการปกป้องวิทยานิพนธ์ 15. การตอบคำถามสอบปกป้องวิทยานิพนธ์ 16. การปรับปรุงแก้ไขวิทยานิพนธ์ 17. องค์ประกอบของการปรับปรุงวิทยานิพนธ์ (0034)
ห้องเรียนใหญ่ 9
รหัส 0010 :: ความรู้พื้นฐานการวิจัย
รวมจำนวน 14 VDO
ในห้องเรียนใหญ่ที่ 9 นี้จะทำให้คุณมีความรู้อย่างลึกซึ้งในหัวข้อเรื่อง 🙂 ความรู้พื้นฐานการวิจัย ซึ่งจำแนกได้เป็น 3 STEP ประกอบด้วย
(1) STEP 1 ความรู้ขั้นต้น มีจำนวน 3 วีดีโอ จำแนกออกได้ดังต่อไปนี้ 1. คำนำ 2. สารบัญ 3. คนเราชอบขยายเวลาการทำงานออกไป (0035)
(2) STEP 2 ความรู้ขั้นกลาง มีจำนวน 6 วีดีโอ จำแนกออกได้ดังต่อไปนี้ 4.ความหมายและความสำคัญของวิทยานิพนธ์ 5. ความสำคัญของวิทยานิพนธ์ 6. แนวคิดพื้นฐานของวิทยานิพนธ์เชิงปริมาณ 7. ขั้นตอนของวิทยานิพนธ์เชิงปริมาณ 8. โครงสร้างหลักสูตรแผน ก 9. โครงสร้างหลักสูตร แผน ข ( 0036 )
(3) STEP 3 ความรู้ขั้นสูง มีจำนวน 5 วีดีโอ จำแนกออกได้ดังต่อไปนี้ 10.ความหมายของคำว่าสารนิพนธ์ 11. วิทยานิพนธ์ซึ่งเป็นงานเขียนขั้นสูง 12. ระดับความเข้มงวดหรือความลุ่มลึกในการเขียนวิทยานิพนธ์ 13. วิธีหาหัวข้อเรื่องในการทำวิทยานิพนธ์ 14. แหล่งทุนอุดหนุนการวิจัย (0037)